หน้าแรก
ผลงานของเรา
ภาพกิจกรรม
ติดต่อเรา
ส่งอีเมล์
ร้องทุกข์
E-Service
แผนที่เว็บไซต์
×
×
สายตรงผู้บริหาร
ข้อมูลพื้นฐาน อบต.
ประวัติความเป็นมา
สภาพทั่วไปของ อบต.
สภาพเศรษฐกิจ
สภาพสังคม
ทรัพยากรในพื้นที่
ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่
ศักยภาพของ อบต.
วิสัยทัศน์
ร้านอาหาร
ข้อมูลพื้นฐาน อบต.
ประวัติความเป็นมาของ อบต.
วิสัยทัศน์ พันธกิจ
สภาพทั่วไปของ อบต.
สภาพทางสังคม
โครงสร้างการบริหาร
ทำเนียบผู้บริหาร
ทำเนียบฝ่ายสภา
สำนักปลัด
ส่วนการคลัง
ส่วนโยธา
ส่วนการศึกษา ศาสนาฯ
ส่วนสาธารณสุขฯ
ส่วนสวัสดิการสังคม
ส่วนส่งเสริมการเกษตร
แผนพัฒนาท้องถิ่น
แผนพัฒนาท้องถิ่น(04)
แผนดำเนินงานประจำปี(10)
รายงานกำกับติดตามการดำเนินงานรอบ 6 เดือน(11)
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี(12)
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
รายงานกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง
แผนป้องกันฯการทุจริต
ประกาศใช้แผนฯ
ส่วนที่1
ส่วนที่2
ส่วนที่3
โครงการ/กิจกรรม
ผลสำรวจความพึงพอใจ
ผลสำรวจ
ผลสำรวจปีงบประมาณ 62
ข้อบัญญัติงบประมาณ
กิจการสภา
ประกาศกิจการสภา
รายงานการประชุมสภา
การปรับปรุงภารกิจ
ประกาศ
หน้าแรก
การเช่าทรัพย์
การเช่าทรัพย์
การเช่าทรัพย์
การเช่าทรัพย์
ทรัพย์ที่เช่าได้
:
ทรัพย์สิ่งของใด
เจ้าของย่อมนำออกให้ผู้อื่นเช่าได้เสมอไม่ว่าทรัพย์นั้นจะมีขนาดเล็กหรือใหญ่
เคลื่อนย้ายได้หรือไม่ได้ก็ตาม ทรัพย์ที่เช่านี้มี
2
ประเภท
(1)
อสังหาริมทรัพย์ คือ สิ่งที่ยึดติดกับพื้นที่เคลื่อนย้ายไม่ได้ เช่น ที่ดิน สวน
บ้าน ตึกแถว เป็นต้น
(2)
สังหาริมทรัพย์ คือ
สิ่งที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย รถยนต์ เรือ เกวียน เป็นต้น
หลักฐานการเช่า
:
การเช่าอสังหาริมทรัพย์
ต้องมีการทำหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด
(
ผู้เช่าหรือผู้ให้เช่า) ถ้าไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ
จะฟ้องร้องให้ปฏิบัติตามสัญญาเช่าไม่ได้
หลักฐานเป็นหนังสือ
:
ไม่จำเป็นจะต้องเป็นรูปหนังสือสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์ทั้งฉบับ
แต่จะเป็นหนังสือใดๆ ก็ย่อมได้ เช่น
จดหมายที่ผู้ให้เช่าหรือผู้เช่าเขียนถึงกันเพื่อตกลงราคาค่าเช่า
หรือใบเสร็จรับเงินค่าเช่าเป็นต้น ดังนั้น หลักฐานเป็นหนังสือจะเป็นในลักษณะใดก็ได้
สำคัญอยู่ที่ว่า ข้อความในหนังสือนั้นแสดงให้เห็นว่าได้มีสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์
ก็พอจะใช้ยันผู้ให้เช่าหรือผู้เช่าแล้ว หลักฐานเป็นหนังสือนี้
ไม่จำเป็นจะต้องมีอยู่ในขณะตกลงทำสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์นั้น
แม้จะมีขึ้นในภายหลังจากการตกลงทำสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์แล้วก็ใช้ได้
ถ้ามีการเช่าอสังหาริมทรัพย์เกินกว่า
3
ปี (กฎหมายห้ามเกิน
30
ปี
)
หรือมีการกำหนดอายุของผู้เช่าหรือผู้ให้เช่า
จะต้องนำสัญญานั้นไปจดทะเบียนการเช่าต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ถ้าเป็นการเช่าบ้านหรือตึกแถวต้องไปจดทะเบียน ณ ที่ว่าการอำเภอ ที่บ้าน
หรือตึกแถวนั้นตั้งอยู่ ถ้าเช่าที่ดิน (รวมทั้งบ้านด้วยก็ได้)
ต้องไปจดทะเบียนที่สำนักงานที่ดินประจำจังหวัด
การเช่าสังหาริมทรัพย์
แม้ว่าไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ เช่น ตกลงทำสัญญาเช่าด้วยวาจาก็ฟ้องร้องบังคับกันได้
การโอนความเป็นเจ้าของ
:
(1)
ในอสังหาริมทรัพย์ที่เช่า
ไม่ทำให้สัญญาเช่าที่ทำไว้เดิมสิ้นสุดลง เจ้าของคนใหม่ต้องยอมรับรู้
และผูกพันตามสัญญาเช่าที่เจ้าของเดิมทำไว้ เจ้าของคนใหม่จึงเป็นผู้ให้เช่า
(2)
ในสังหาริมทรัพย์ ทำให้สัญญาเช่าสิ้นสุดลง
เจ้าของคนใหม่เรียกเอาทรัพย์ที่เช่าคืนได้ ถ้าผุ้เช่า เสียหาย เช่น
ให้ค่าเช่าล่วงหน้า
2
เดือน ก็ต้องไปทวงคืนเอาจากเจ้าของเดิม
เช่าช่วง
:
เช่าช่วง คือ
การที่ผู้เช่าเอาทรัพย์ที่ตนเช่าให้คนอื่นเช่าต่อ ไม่ว่าทั้งหมดหรือแต่บางส่วน เช่น
ก เช่าเรือ ข แล้ว ก เอาเรือที่ตนเช่าไปให้ ค เช่าต่อ
การเช่าช่วงถือว่าเป็นการผิดสัญญาเช่า
ผู้ให้เช่ามีสิทธิบอกสัญญาเรียกเอาทรัพย์ที่เช่าคืนได้ เว้นแต่ผู้ให้เช่าอนุญาต
ในกรณีเช่นนี้เมื่อมีการเช่าช่วง
ผู้เช่าช่วงต้องรับผิดชอบโดยตรงต่อผู้ให้เช่า
สัญญาต่างตอบแทนชนิดพิเศษนอกเหนือไปจากสัญญาเช่าธรรมดา
คือ การที่ผู้เช่าตกลงทำการอย่างใดให้เกิดประโยชน์ในทรัพย์ที่เช่า เช่น
ผู้เช่ารับซ่อมแซม และต่อเติมบ้านเช่า ปลูกต้นไม้ในที่ดินที่เช่า
หรือออกเงินช่วยค่าก่อสร้างตึกที่เช่า เป็นต้น
สัญญาชนิดนี้มีผลผูกพันและฟ้องร้องบังคับกันได้
แม้ไม่มีหลักฐานการเช่าหรือแม้ว่าเป็นการเช่าอสังหาริมทรัพย์เกินกว่า
3
ปี
ก็ไม่ต้องทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่นอกจากนี้ผู้เช่าตายสัญญาชนิดนี้ไม่ระงับ
ทายาทของผู้เช่า (พ่อ แม่ ลูก หลานของผู้เช่า) มีสิทธิเช่าได้ต่อไป
จนกว่าจะครบอายุสัญญา
การสิ้นสุดแห่งสัญญาเช่า
:
(1)
ถ้าเป็นสัญญาเช่ามีกำหนดเวลาการเช่าไว้ เมื่อสิ้นเวลาที่ได้ตกลงกันไว้
สัญญาเช่าก็หมดอายุ
(2)
สัญญาเช่าย่อมระงับลงเมื่อทรัพย์สินซึ่งให้เช่าสูญหายไปทั้งหมด เช่น
บ้านที่เช่าถูกไฟไหม้
(3)
สัญญาเช่าระงับลงเมื่อผู้เช่าถึงแก่ความตาย
(4)
วิธีการเบิกเลิกสัญญาเช่าชนิดที่ไม่กำหนดระยะเวลาที่ให้เช่านั้น
ทั้งฝ่ายผู้ให้เช่าและผู้เช่าต่างมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้
โดยการให้คำบอกกล่าวเลิกสัญญา
ซึ่งต้องบอกกล่าวล่วงหน้าในระยะเวลาไม่น้อยกว่ากำหนดระยะเวลาเช่าระยะหนึ่ง เช่น
กำหนดชำระค่าเช่าเป็นรายเดือน ให้บอกกล่าวล่วงหน้า
1
เดือน
(5)
ถ้าผู้เช่าผิดนัดไม่ชำระค่าเช่า ผู้ให้เช่าสามารถบอกเลิกสัญญาเช่าได้ทันที
ถ้าการเช่านั้นมีการตกลงชำระค่าเช่ากันน้อยกว่ารายเดือน เช่น ชำระเป็นรายวัน
รายสัปดาห์ หรือ
2
สัปดาห์ เป็นต้น แต่หากมีการตกลงชำระค่าเช่าเป็นรายเดือน
หรือกว่ารายเดือน ผู้ให้เช่าต้องบอกกล่าวผู้ให้เช่าภายในเวลาอย่างน้อย
15
วัน
หากผู้เช่าไม่ชำระค่าเช่าในเวลาที่กำหนด ผู้ให้เช่าบอกเลิก
การให้บริการ
ถามตอบ
สมุดเยี่ยมชม
ดาวน์โหลด
กระดานสนทนา
คู่มือสำหรับประชาชน
คู่มือสำหรับประชาชน
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร อบต.บ้านแก้ง
กฎหมายน่ารู้
การกู้ยืมเงิน
การค้ำประกัน
การซื้อขาย
การจำนอง
การจำนำ
การเช่าทรัพย์
การขายฝาก
การเช่าซื้อ
การละเมิด
รวมลิงค์ต่างๆ
สมาคมสันนิบาตเทศบาลไทย
คณะกรรมการพนักงานท้องถิ่น
คณะกรรมการการเลือกตั้ง
กลุ่มเพื่อนพนักงานส่วนตำบล
ค้นหาเบอร์โทรศัพท์
ฐานข้อมูลหน่วยงานรัฐ
เช็คเที่ยวบิน
ห้องสมุดกฏหมาย
สลากกินแบ่งรัฐบาล
ตารางรถทัวร์
ตารางรถไฟ
ตรวจสอบสภาพอากาศ
ความรู้เกี่ยวกับ อบต.
อบต.คืออะไร ?
อำนาจหน้าที่ของ อบต.
ความหมาย/ หน้าที่ของนายกฯ
ความหมาย/ หน้าที่ของสภาฯ
องค์ประกอบของ อบต.
อบต.เกิดขึ้นได้อย่างไร ?
การดูแลการทำงานของ อบต.
ประชาชนสำคัญต่อ อบต. ?
เว็บไซต์ท้องถิ่นไทย
กรมส่งเสริมการปกครอง
จังหวัดชัยภูมิ
สำนักงานท้องถิ่นจังหวัดชัยภูมิ
สำนักงานพาณิชย์จังหวัดชัยภูมิ
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดชัยภูมิ
สำนักงานสาธารสุขจังหวัดชัยภูมิ
ชมรมคนเทศบาล
ชมรมนิติกร
แบบสำรวจความคิดเห็น
ท่านมีความพึงพอใจในการให้บริการรับขึ้นทะเบียนผู้สูงอายุเพียงใด
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
โหวต
ผลโหวต
รวมลิงค์ต่างๆ
แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการให้บริการ
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแก้ง
ต.บ้านแก้ง อ.แก้งคร้อ จ.ชัยภูมิ
Tel
: 0-44056104
Fax
: 0-44056103 ต่อ 12
Copyright © 2020 by
OPSTECH
All Right Reserved.