หน้าแรก
ผลงานของเรา
ภาพกิจกรรม
ติดต่อเรา
ส่งอีเมล์
ร้องทุกข์
E-Service
แผนที่เว็บไซต์
×
×
สายตรงผู้บริหาร
ข้อมูลพื้นฐาน อบต.
ประวัติความเป็นมา
สภาพทั่วไปของ อบต.
สภาพเศรษฐกิจ
สภาพสังคม
ทรัพยากรในพื้นที่
ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่
ศักยภาพของ อบต.
วิสัยทัศน์
ร้านอาหาร
ข้อมูลพื้นฐาน อบต.
ประวัติความเป็นมาของ อบต.
วิสัยทัศน์ พันธกิจ
สภาพทั่วไปของ อบต.
สภาพทางสังคม
โครงสร้างการบริหาร
ทำเนียบผู้บริหาร
ทำเนียบฝ่ายสภา
สำนักปลัด
ส่วนการคลัง
ส่วนโยธา
ส่วนการศึกษา ศาสนาฯ
ส่วนสาธารณสุขฯ
ส่วนสวัสดิการสังคม
ส่วนส่งเสริมการเกษตร
แผนพัฒนาท้องถิ่น
แผนพัฒนาท้องถิ่น(04)
แผนดำเนินงานประจำปี(10)
รายงานกำกับติดตามการดำเนินงานรอบ 6 เดือน(11)
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี(12)
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
รายงานกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง
แผนป้องกันฯการทุจริต
ประกาศใช้แผนฯ
ส่วนที่1
ส่วนที่2
ส่วนที่3
โครงการ/กิจกรรม
ผลสำรวจความพึงพอใจ
ผลสำรวจ
ผลสำรวจปีงบประมาณ 62
ข้อบัญญัติงบประมาณ
กิจการสภา
ประกาศกิจการสภา
รายงานการประชุมสภา
การปรับปรุงภารกิจ
ประกาศ
หน้าแรก
การจำนอง
การจำนอง
การจำนอง
การจำนอง
จำนองก็เป็นหลักประกันหนี้อีกประการหนึ่ง จำนองคือ
การใครคนหนึ่งเรียกว่า ผู้จำนองเอาอสังหาริมทรัพย์ อันได้แก่ ที่ดิน บ้านเรือน
เป็นต้น ไปตราไว้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า ผู้รับจำนอง
หรือนัยหนึ่งผู้จำนองเอาทรัพย์สินไปทำหนังสือจดทะเบียนต่อเจ้าพนักงาน
เพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ของลูกหนี้ โดยไม่ต้องส่งมอบทรัพย์ที่จำนองให้เจ้าหนี้
ผู้จำนองอาจเป็นตัวลูกหนี้เอง หรือจะเป็นบุคคลภายนอกก็ได้ เช่น นายดำ กู้เงินนายแดง
100,000
บาท เอาที่ดินของตนเองจำนองหรือนายเหลืองซึ่งเป็นบุคคลภายนอกเอาที่ดินจำนอง
จดทะเบียนที่สำนักงานที่ดินเป็นประกันหนี้นายดำ ก็ทำได้เช่นเดียวกัน
เมื่อจำนองแล้วถ้าลูกหนี้ไม่ชำระหนี้
เจ้าหนี้ก็มีอำนาจยึดทรัพย์ที่จำนองออกขายทอดตลาดเอาเงินชำระหนี้ได้
และมีสิทธิพิเศษได้รับชำระหนี้ก่อนเจ้าหนี้ธรรมดาทั่วไป
กู้เงินแล้วมอบโฉนด หรือ น.ส.
3
ให้เจ้าหนี้ยึดถือไว้มิใช่จำนอง
เจ้าหนี้ไม่มีสิทธิพิเศษเป็นเพียงเจ้าหนี้ธรรมดา แต่มีสิทธิยึดโฉนดหรือ น.ส.
3
ไว้ตามข้อตกลงจนกว่าลูกหนี้จะชำระหนี้
ฉะนั้นถ้าจะทำจำนองก็ต้องจดทะเบียนให้ถูกต้อง
ทรัพย์สินที่จำนอง
:
ทรัพย์สินที่จำนองได้ คืออสังหาริมทรัพย์
อันหมายถึง ทรัพย์ที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ เช่น ที่ดิน บ้านเรือน เรือกสวนไร่นา
เป็นต้น นอกจากนั้นสังหาริมทรัพย์ คือทรัพย์ที่เคลื่อนที่ได้บางอย่าง เช่น
เรือกำปั่น เรือกลไฟ แพ ที่อยู่อาศัย และสัตว์พาหนะ ถ้าได้จดทะเบียนไว้แล้ว
ก็อาจนำจำนองได้ดุจกัน
เมื่อเจ้าของทรัพย์นำไปจำนองไม่จำเป็นต้องส่งมอบทรัพย์ที่จำนองให้แก่เจ้าหนี้เจ้าของยังครอบครองใช้ประโยชน์
เช่น อยู่อาศัยในบ้าน หรือทำสวนทำไร่หาผลประโยชน์ได้ต่อไป
นอกจากนั้นอาจจะโอนขายหรือนำไปจำนองเป็นประกันหนี้รายอื่นต่อไป ก็ย่อมทำได้
ส่วนเจ้าหนี้นั้น
การที่ลูกหนี้นำทรัพย์ไปจดทะเบียนจำนองก็นับได้ว่าเป็นประกันหนี้ได้อย่างมั่นคงไม่จำเป็นต้องเอาทรัพย์นั้นมาครอบครองเอง
ผู้จำนองต้องระวัง
:
ผู้มีสิทธิจำนองได้
คือเจ้าของหรือผู้มีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน ถ้าเจ้าของจำนองทรัพย์สินด้วยตนเอง
ก็ไม่มีปัญหาแต่ถ้ามอบให้บุคคลอื่นไปทำการจำนองแทน บางกรณีก็อาจเกิดปัญหาได้
ข้อควรระมัดระวัง คือ ควรเขียนใบมอบฉันทะหรือใบมอบอำนาจให้ชัดเจนว่า ให้ทำการจำนอง
ไม่ควรเซ็นแต่ชื่อแล้วปล่อยค้างไว้
อันบุคคลอื่นนั้นอาจกรอกข้อความเอาเองแล้วนำไปทำประการอื่นอันไม่ตรงตามความประสงค์ของเรา
เช่น อาจเพิ่มเติมข้อความว่ามอบอำนาจให้โอนขาย
แล้วขายเอาเงินใช้ประโยชน์ส่วนตัวเสีย เป็นต้น เราผู้เป็นเจ้าของทรัพย์
ผู้มอบอำนาจอาจจะต้องถูกผูกพันตามสัญญาซื้อขายนั้น
เพราะว่าประมาทเลินเล่ออยู่ด้วย
ผู้รับจำนองต้องระวัง
:
ผู้รับจำนองทรัพย์สินก็ต้องระมัดระวังเช่นกัน
ควรติดต่อกับเจ้าของทรัพย์หรือเจ้าของที่ดินโดยตรง
และควรตรวจดูที่ดินทรัพย์สินที่จำนองว่ามีอยู่จริงตรงกับโฉนด
เคยปรากฏว่ามีผู้นำโฉนดที่ดินไปประกันตัวผู้ต้องหาหรือจำเลย
แต่ที่ดินตามโฉนดนั้นกลับเป็นถนนเหลือจากการจัดสรร
หรือที่ดินตามโฉนดนั้นพังลงน้ำไปหมดแล้ว ดังนั้นผู้รับจำนองจึงไม่ควรรับจำนอง
หรือติดต่อทำสัญญากับคนอื่นหรือผู้ที่อ้างว่าเป็นตัวแทน เพราะถ้าปรากฏในภายหลัง
ว่าบุคคลนั้นทำใบมอบฉันทะหรือใบมอบอำนาจปลอมขึ้นแล้วนำที่ดินอื่นมาจำนอง
แม้เราผู้รับจำนองจะมีความสุจริตอย่างไรเจ้าของอันแท้จริงก็มีสิทธิติดตามเอาคืนที่ดินของเขาได้โดยไม่ต้องไถ่ถอน
ผู้รับโอนและผู้รับจำนองซ้อนก็ต้องระวัง
:
ทรัพย์ที่จำนองนั้นเจ้าของจะนำไปจำนองซ้ำ
หรือโอนขายต่อไปก็ย่อมทำได้
ผู้รับจำนองคนหลังต้องพิจารณาว่าทรัพย์นั้นเมื่อขายทอดตลาดจะมีเงินเหลือพอชำระหนี้ของตนหรือไม่
เพราะเจ้าหนี้คนแรกมีสิทธิได้รับการชำระหนี้ก่อน
คนหลังมีสิทธิแต่เพียงได้ชำระหนี้เฉพาะส่วนที่เหลือผู้รับโอนหรือผู้ซื้อทรัพย์ที่จำนองก็ต้องระวังเช่นเดียวกัน
เพราะรับโอนทรัพย์โดยมีภาระจำนองก็ต้องไถ่ถอนจำนองโดยชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้
มิฉะนั้น เจ้าหนี้ก็มีสิทธิที่จะบังคับจำนองยึดทรัพย์เอาที่ดินออกขายทอดตลาด
ซึ่งถ้าผู้รับโอนสู้ราคาไม่ได้ ทรัพย์หลุดมือไปเป็นของคนอื่น ดังนั้นที่ซื้อมา
การให้บริการ
ถามตอบ
สมุดเยี่ยมชม
ดาวน์โหลด
กระดานสนทนา
คู่มือสำหรับประชาชน
คู่มือสำหรับประชาชน
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร อบต.บ้านแก้ง
กฎหมายน่ารู้
การกู้ยืมเงิน
การค้ำประกัน
การซื้อขาย
การจำนอง
การจำนำ
การเช่าทรัพย์
การขายฝาก
การเช่าซื้อ
การละเมิด
รวมลิงค์ต่างๆ
สมาคมสันนิบาตเทศบาลไทย
คณะกรรมการพนักงานท้องถิ่น
คณะกรรมการการเลือกตั้ง
กลุ่มเพื่อนพนักงานส่วนตำบล
ค้นหาเบอร์โทรศัพท์
ฐานข้อมูลหน่วยงานรัฐ
เช็คเที่ยวบิน
ห้องสมุดกฏหมาย
สลากกินแบ่งรัฐบาล
ตารางรถทัวร์
ตารางรถไฟ
ตรวจสอบสภาพอากาศ
ความรู้เกี่ยวกับ อบต.
อบต.คืออะไร ?
อำนาจหน้าที่ของ อบต.
ความหมาย/ หน้าที่ของนายกฯ
ความหมาย/ หน้าที่ของสภาฯ
องค์ประกอบของ อบต.
อบต.เกิดขึ้นได้อย่างไร ?
การดูแลการทำงานของ อบต.
ประชาชนสำคัญต่อ อบต. ?
เว็บไซต์ท้องถิ่นไทย
กรมส่งเสริมการปกครอง
จังหวัดชัยภูมิ
สำนักงานท้องถิ่นจังหวัดชัยภูมิ
สำนักงานพาณิชย์จังหวัดชัยภูมิ
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดชัยภูมิ
สำนักงานสาธารสุขจังหวัดชัยภูมิ
ชมรมคนเทศบาล
ชมรมนิติกร
แบบสำรวจความคิดเห็น
ท่านมีความพึงพอใจในการให้บริการรับขึ้นทะเบียนผู้สูงอายุเพียงใด
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
โหวต
ผลโหวต
รวมลิงค์ต่างๆ
แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการให้บริการ
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแก้ง
ต.บ้านแก้ง อ.แก้งคร้อ จ.ชัยภูมิ
Tel
: 0-44056104
Fax
: 0-44056103 ต่อ 12
Copyright © 2020 by
OPSTECH
All Right Reserved.